ITO Thailand Hygiene Blog
-
5 ไอเดียการใช้นวัตกรรมเพื่ออุตสาหกรรมอาหารที่ยั่งยืน
อัพเดทไอเดียใหม่ ๆ ในการพัฒนาองค์กรเพื่อตอบรับเทรนด์ความยั่งยืน (Sustainability) ด้วยผลิตภัณฑ์จากอิโตะ (ไทยแลนด์) ที่คุณสามารถนำไปปรับใช้กับที่ทำงานของคุณ
-
ไนโตรเจนเหลวในอุตสาหกรรมอาหาร
อาจจะเคยได้ยินว่าไนโตรเจนเหลวทำให้อาหารเย็นจนแข็งตัวได้อย่างรวดเร็วใช่หรือไม่? แล้วมันมีข้อดียังไง มีประโยชน์อย่างไรบ้าง? มาทำความรู้จักไนโตรเจนเหลวในอุตสาหกรรมอาหารไปกับอิโตะ (ไทยแลนด์) กันเถอะ
-
เทคโนโลยีฟองแก๊สระดับอนุภาค Ultrafine bubble (UFB) technology (Part 2)
จากคอนเทนท์ก่อนหน้านี้ ได้เล่าถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีฟองแก๊สระดับอนุภาคในส่วนของการทำการเกษตร ปศุสัตว์และการประมง การทำความสะอาดวัตถุดิบไปจนถึงพื้นผิวต่าง ๆ กันไปแล้ว ในวันนี้เราจะมาเรียนรู้กันต่อในส่วนของการใช้เทคโนโลยีฟองแก๊สระดับอนุภาคในกระบวนการผลิตอาหารและการจัดการกับของเสียจากอุตสาหกรรมอาหาร รวมถึงวิธีในการสร้างฟองแก๊สขนาดเล็กเหล่านี้
-
เทคโนโลยีฟองแก๊สระดับอนุภาค Ultrafine bubble (UFB) technology (Part 1)
ฟองอากาศธรรมดาๆ เมื่อเปลี่ยนให้มีขนาดเล็กระดับไมโคร-นาโน กลับสามารถทำอะไรได้มากกว่าที่คุณคิด มาเรียนรู้เรื่องเทคโนโลยีของฟองอากาศขนาดจิ๋ว ๆ เหล่านี้และการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมอาหารกับอิโตะ (ไทยแลนด์) กันเถอะ
-
5 เทคโนโลยีในการจัดการคุณภาพอาหารแช่แข็ง
การแช่เยือกแข็งเป็นการถนอมอาหารวิธีหนึ่ง นิยมใช้ในอาหารที่มีการเสื่อมเสียรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็น อาหารสดพร้อมปรุง อาหารพร้อมรับประทาน หรืออาหารที่คุณค่าทางโภชนาการมีการสลายตัวได้ง่าย หรือมีสารที่ไวต่ออุณหภูมิ แสง ออกซิเจน เป็นต้น โดยใช้หลักการทำให้น้ำภายในผลิตภัณฑ์กลายเป็นของแข็งอย่างรวดเร็ว ทำให้โมเลกุลของสารไม่สามารถเข้าทำปฏิกิริยากันได้ อาหารจึงมีอายุที่นานขึ้น นอกจากนี้ยังยับยั้งการเจริญของจุลินทรีย์และช่วยฆ่าปรสิตได้อีกด้วย เช่น USFDA แนะนำให้มีการควบคุมปรสิตในปลารับประทานดิบ เช่น สำหรับซูชิ ซาชิมิ โดยแช่แข็งปลาที่อย่างน้อย -20 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 7 วัน หรือเก็บที่ -35 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 15 ชั่วโมง เพื่อควบคุมปรสิตกลุ่มพยาธิในปลา (สภาวะอาจขึ้นกับขนาดของปลาด้วย)
-
ใส่ใจสุขลักษณะรองเท้า เพื่อสุขลักษณะที่ดีในอุตสาหกรรมอาหาร
4 ความเสี่ยงที่รองเท้านำมาสู่โรงงานอาหารของคุณ
-
นวัตกรรมลดการปนเปื้อนในสายการผลิต
เป็นที่ทราบกันดีว่า สิ่งสกปรกจากภายนอกเป็นที่มาของความเสี่ยงด้านความปลอดภัยของอาหาร โดยหนึ่งในช่องทางของการปนเปื้อน คือ การที่มนุษย์เป็นพาหะในการนำฝุ่นและสิ่งสกปรกเข้าสู่ส่วนผลิตหรือพื้นที่ที่มีความเสี่ยงสูง ทำให้สิ่งสกปรก เชื้อโรค หรือสิ่งแปลกปลอม อาจถูกปนเปื้อนไปในอาหารและเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค
-
เทคโนโลยี AI ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร
กรณีศึกษา: เทคโนโลยีAI สำหรับตรวจติดตามการล้างมือ เพื่อรักษามาตรฐาน HACCP
-
การจัดการสัตว์รบกวนในอุตสาหกรรมอาหาร
สัตว์รบกวนเป็นหนึ่งในปัญหาใหญ่สำหรับการควบคุมสุขลักษณะที่ดีในการผลิตอาหาร เนื่องจากก่อให้เกิดความเสียหายหลายประการ อาทิ วัตถุดิบหรืออุปกรณ์เกิดความเสียหายหรือสกปรกจากการกัดแทะ ถ่ายมูลรด ทำให้ขยะกระจัดกระจาย, การปนเปื้อนตัวสัตว์หรือชิ้นส่วนของสัตว์ (เช่น ขนสุนัข แมว หรือหนู ปีกแมลง ขาแมลง) สารคัดหลั่งหรือมูลลงในอาหาร, การเป็นพาหะนำเชื้อก่อโรค พยาธิและจุลินทรีย์ที่ทำให้อาหารเสื่อมเสีย และสารก่อภูมิแพ้ เป็นต้น การนำเข้าสัตว์เหล่านี้สู่พื้นที่ภายในโรงงาน อาจเกิดจากการปะปนมากับวัตถุดิบ เช่น ไข่มอดในธัญพืช แมลงหวี่ในผักผลไม้, การติดตัวพนักงาน เช่นการเหยียบซากแมลงติดเข้าไป และไม่มีการเปลี่ยนหรือทำความสะอาดรองเท้าที่เหมาะสม, การเข้าออกด้วยตัวสัตว์เอง ขณะประตูเปิดเข้าออก, ตามช่องเปิด รูรั่ว ท่อระบายน้ำ หรือทางอากาศ เช่น แมลงบิน หรือการถ่ายมูลของนก เป็นต้น
-
เปลี่ยนแปลงองค์กรสู่ยุคดิจิตอลด้วยเทคโนโลยีอ่านอักขระด้วยแสง (OCR)
การอ่านอักขระด้วยแสงหรือที่รู้จักกันในชื่อ เทคโนโลยี OCR (Optical Character Recognition) คือการใช้เทคโนโลยีในการแยกแยะตัวอักษรจากภาพถ่ายดิจิตอล เช่น ภาพแสกนเอกสาร ภาพพิมพ์บนวัสดุต่าง ๆ โดยระบบจะประกอบด้วยส่วนฮาร์ดแวร์สำหรับรับภาพ เช่น กล้องหรือแสกนเนอร์ และซอฟท์แวร์สำหรับตรวจจับตัวอักษร
-
Artificial Intelligence (AI) ร่วมกับ Computer vision technology
ในปัจจุบัน เทคโนโลยีมากมายเข้ามามีบทบาทในอุตสาหกรรมอาหาร ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มกำลังการผลิต เพิ่มความแม่นยำ เพิ่มประสิทธิภาพในการทำงาน ลดการสูญเสียวัตถุดิบ ทรัพยากร เวลา ลดการปนเปื้อน ลดปัญหาการขาดแคลนแรงงาน หรือใช้งานในจุดที่เสี่ยงอันตราย เป็นต้น
-
Food grade material
ในวงการอุตสาหกรรมอาหาร หรือแม้แต่ในชีวิตประจำวัน เรามักจะเคยได้ยินคำว่า “Food grade” หรือ “Food safe” ซึ่งทั้งสองคำนั้นมีความคล้ายคลึงกัน แต่ทว่ามีความหมายที่แตกต่างกัน ดังนี้ “Food grade” หมายถึงวัสดุที่เหมาะสมกับการสัมผัสอาหารโดยตรง ส่วน “Food safe” นั้นหมายถึง วัสดุ Food grade และผลิตภัณฑ์นั้นมีความเหมาะสมต่อการใช้งาน และไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อความปลอดภัยของอาหาร [1]